ในยุคที่ต้องวิ่งตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ชั่วโมงหลังเลิกเรียนก็เปลี่ยนไป การศึกษากำลังกลายเป็นการแข่งขันเข้าไปทุกที เมื่อเด็กต้องเรียนเสริม หรือเรียนล่วงหน้าเพื่ออาชีพในฝัน โดยเฉพาะอาชีพ STEM กับตัวอย่างกิจกรรม STEM หลังเลิกเรียน
Credit potential.org
หลายครั้ง ‘ระเบียบวินัย’ ในห้องเรียน เกิดจากการดุด่าและสั่งห้ามของครู ท้ายที่สุดอาจทำให้เด็กนักเรียนรู้สึกอยากต่อต้าน ครูควรละทิ้งความเชื่อเก่าๆ เปลี่ยนมาสร้างความไว้ใจและวินัยเชิงบวกในห้องเรียน เพราะจะทำให้เด็กมีสมาธิและโฟกัสกับการเรียนได้ดีขึ้น
การปฏิวัติมีทุกยุคทุกสมัย โดยเฉพาะเรื่องของการเรียนรู้อย่างการศึกษา ในห้องเรียนยุคใหม่ตัวชี้วัดอาจไม่ใช่เกรดเฉลี่ยหรือคะแนนในแต่ละวิชาอีกแล้ว เพราะการศึกษาในยุคนี้เปิดกว้างในเรื่องของการเตรียมเด็ก ๆ ให้พร้อมกับการใช้ชีวิตจริงที่เต็มไปด้วยการเปลี่ยนแปลง และเข้าถึงโลกในการทำงานมากขึ้น แล้วห้องเรียนยุคใหม่ในปัจจุบันพัฒนาไปถึงไหนแล้ว ลองไปดูตัวอย่างกับ 3 โรงเรียนต้นแบบของห้องเรียนยุคใหม่กับ L1 กันครับ
ตอนนี้ AI ไม่ใช่แค่เทคโนโลยีใหม่อีกแล้ว แต่เป็นการสะท้อนให้เห็นทิศทางของเศรษฐกิจ การดำรงชีวิต อาชีพ ความเสี่ยงของมนุษย์ในการถูกแทนที่ และการเปลี่ยนแปลงของการศึกษาในหลาย ๆ ด้าน เมื่อมันกำลังกลายเป็นชีวิตประจำวัน คุณครูคิดว่าหลักสูตร AI จำเป็นต้องบรรจุเข้าไปในแบบเรียนไหม ? อ่านเพิ่มเติมได้ที่บทความนี้
ครูสามารถช่วยพัฒนานักเรียนได้ในหลาย ๆ ด้าน ทั้งในเรื่องของการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะต่าง ๆ แต่นอกจากนี้แล้ว ยังมีอีกสิ่งหนึ่งซึ่งสำคัญไม่น้อยที่ครูจะสามารถช่วยพัฒนาได้นั่นก็คือ “นิสัย” โดยนิสัยเชิงบวกนั้นจะช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้กับตัวของนักเรียนเองในระยะยาว
การเรียนรู้ในปัจจุบันคือการเรียนรู้ที่เกิดได้ทุกที่ ทุกเวลา ไม่ได้เน้นเพียงรูปแบบวิชาการที่ตายตัว แต่ต้องสามารถบูรณาการการเรียนรู้ และต่อยอดการศึกษาไปใช้ในอนาคตได้ หลักการด้านการศึกษาสมัยใหม่ VASK Model ได้กล่าวถึง 4 หลักนี้ที่จำเป็นต้องเสริมในตัวเด็กเพื่อพัฒนาไปเป็นคนที่มีคุณภาพในอนาคต
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเด็กมีภาวะเสี่ยงหรือไม่? คุณครู และผู้ปกครองสามารถสังเกตพฤติกรรมเด็ก ๆ ควบคู่ไปกับ “แบบประเมินคัดกรองเด็กที่มีภาวะเสี่ยง LD ทั้ง 5 ด้าน” โดย ศ.ดร. ดารณี ศักดิ์ศิริผล เพื่อคัดกรองเด็ก ๆ เบื้องต้นได้ ดาวน์โหลดฟรี!
แผน IEP หรือโปรแกรมจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ( IEP ) กำหนดแนวทางการจัดการศึกษาสำหรับเด็ก LD ให้ได้รับการพัฒนาตามเป้าหมาย เน้นการพัฒนาทางด้านวิชาการ ครอบคลุมถึงพัฒนาการด้านสังคม และความสามารถในการใช้ชีวิตประจำวัน จำเป็นต้องเตรียมข้อมูลเชิงลึกด้านต่าง ๆ ของเด็ก LD และวิธีการสร้างแผน IEP ที่มีหลายขั้นตอน ความท้าทายของครูการศึกษาพิเศษ คือ จะทำอย่างไรจึงเข้าใจกระบวนการออกแบบแผน IEP ได้แบบลงลึก เพื่อที่จะวางแผน IEP ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับเด็ก LD แต่ละคน บทความนี้มีคำตอบครับ
“การประเมินนักเรียนไม่จำเป็นต้องอาศัยข้อสอบเพื่อวัดผลการเรียนของเด็ก ๆ เพียงเท่านั้น แต่มันยังมีอีกหลายวิธีที่สามารถใช้ตรวจสอบผลการเรียน และความสามารถในด้านต่าง ๆ ของนักเรียนได้” แนะนำ 7 วิธีลัด ที่ช่วยให้คุณครูสามารถประเมินนักเรียนได้ง่ายกว่าการออกข้อสอบแบบเดิม ๆ มาฝากกันครับ
6 หลักที่ผู้เชี่ยวชาญสรุปออกมาในรายงานฉบับนี้ทำให้เราเห็นภาพชัดมากขึ้นถึงแนวทางการศึกษาในอนาคต และนำไปใช้ประโยชน์กับการเสริมทักษะที่จำเป็นสำหรับนักเรียนยุคใหม่ของคุณได้ เพื่อขับเคลื่อนมนุษยชาติต่อไป
มีผลการผลการวิจัยพบว่าเด็กในยุคเจนเนอเรชันอัลฟ่าที่เกิดมากับโลกยุคดิจิทัล มีแนวโน้มการใช้สื่อดิจิทัลเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ (ข้อมูลจากงานสื่อสารองค์กร กองบริหารงานทั่วไป สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล) การใช้สื่อดิจิทัลในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จำเป็นต้องเลือกสื่อดิจิทัล และแอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่ช่วยให้เด็กสามารถค้นคว้า สร้างโอกาส และต้องส่งเสริมให้พวกเขามีทางเลือกในการสร้างจินตนาการ และแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก หรือ Active Learning ผู้สอนจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนเทคนิคการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมเพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ และประยุกต์ใช้ทักษะต่างๆ สร้างความเข้าใจด้วยตนเอง เน้นการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง มีเทคนิคแบบไหนบ้าง สามารถติดตามได้ที่บทความนี้เลยครับ
ใบงานกิจกรรมตัดแปะ ทำการ์ดวันแม่แสนง่ายแต่สุดเก๋!! เพียงให้เด็กเตรียมรูปคู่กับแม่ หรือจะวาดเองเสริมจินตนาการ ก็ทำการ์ดวันแม่แบบตั้งโต๊ะได้ง่าย ๆ นำใบงานมาจัดกิจกรรมในห้องเรียน กระตุ้นกระเรียนรู้แบบ Active Learning ลงมือทำระบายสี เสริมสร้างจินตนาการ แถมสอนเรื่องความกตัญญูไปพร้อมกันด้วยนะ
มาตรฐานอะไรที่ครูอังกฤษต้องการ ? มาเช็กลิสต์ใบงานอังกฤษที่รับรองว่าครบที่สุด! ตรงมาตรฐานตัวชี้วัด มีครบทุกหน่วยการเรียนรู้ ใบงานเรียงหน่วยตามหนังสือเรียน กระตุ้นการเรียนรู้ใช้เสริมให้เป็นกิจกรรมลงมือทำแบบ Active learning และใบงานเป็นไฟล์ Word สามารถปรับใช้ได้ทันที!
อักษรแจกฟรี! ใบกิจกรรมความรู้วิทยาศาสตร์ฯ แบบ Popup ให้ครูชวนเด็กประดิษฐ์ ลงมือทำกิจกรรมสร้างสรรค์แบบ Active Learning พร้อมเสริมความรู้เรื่องของดวงจันทร์ กับ 10 เรื่องน่ารู้ของดวงจันทร์อะพอลโล 11 (Apollo XI) ของ NASA ยานลำแรกของโลกที่ไปดวงจันทร์ได้และกลับมาที่โลกได้สำเร็จกับ และนีล อาร์มสตรอง (Neil Armstrong) มนุษย์คนแรกที่ประทับรอยเท้าบนดวงจันทร์
วิทยาศาสตร์ ศาสตร์แห่งการนำพาสังคมไปสู่โลกแห่งอนาคต การบูรณาการของศาสตร์ต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะที่หลากหลาย สร้างคุณลักษณะที่สำคัญที่จะทำให้ผู้เรียนกลายเป็นบุคคลที่รักที่จะเรียนรู้ มีตรรกะ มีเหตุผล สามารถคิดไตร่ตรอง และแก้ปัญหาได้อย่างมีวิจารณญาณ พร้อมที่จะต่อยอดความรู้ใหม่ ๆ จนกลายเป็นผู้ผลิตนวัตกรรมที่เป็นองค์ประกอบสำคัญสำหรับการนำพาประเทศสู่สังคมโลก
หลักจิตวิทยาที่ว่าด้วยการเห็นคุณค่าของตัวเองหรือ Self-Esteem จึงเข้ามามีบทบาทกับเด็ก LD เพราะการอ่าน เขียนไม่ออก หรือการคิดเลขช้าตามไม่ทันเพื่อนทำให้ไม่ค่อยประสบความสำเร็จ แล้วเราจะสร้าง Self-Esteem ให้เด็กอย่างไร อ่านได้ในบทความนี้
บางครั้งการประเมินผลบางรูปแบบก็อาจไม่ได้เหมาะกับเด็กทุกคน ข้อสอบปรนัยอาจทำให้เด็กคนหนึ่งถูกมองว่าเรียนไม่รู้เรื่อง เพียงเพราะการวัดประเมินผลของครูไม่เอื้อให้เขาได้แสดงสมรรถนะออกมาอย่างที่เราคาดหวัง เราจะปรับเปลี่ยนการประเมินรูปแบบเดิมไปเป็นการวัดประเมินอิงการปฏิบัติได้อย่างไรเพื่อการประเมินผลที่ช่วยสะท้อนสมรรถนะที่แท้จริงของเด็ก
การเรียนรู้ของเด็กในยุคใหม่ Blended Learning คือการเรียนการสอนที่ถูกพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมด้วยระบบของการศึกษาที่ผันเปลี่ยนไปตามเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า การเรียนรู้แบบผสมผสานจึงเป็นสูตรใหม่ของการเรียนการสอนที่ถูกพัฒนาให้เราได้นำมาประยุกต์ใช้ สิ่งใดที่จะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ สิ่งนั้นย่อมพัฒนาการสอนของครูเช่นกัน
เดวิด เอปสตีน บอกว่า นักกีฬาหรือนักดนตรีที่มีชื่อเสียงอย่างมากมาย ไม่ได้บอกว่าหนทางเดียวที่จะไปถึงเป้าที่หวังนั้น จำเป็นจะต้องมุ่งความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเพียงอย่างเดียว หลายคนผ่านการลองผิดลองถูกมาอย่างหลากหลาย
การปล่อยให้เด็กปฐมวัยอยู่กับหน้าจอและใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้จะไม่ใช่เรื่องที่น่ากังวลอีกต่อไป ถ้าหากครูหรือผู้ปกครองมีการใช้อย่างถูกวิธี รู้จักเลือกสื่อที่เหมาะสมกับวัย พร้อมกับดูแลพูดคุยเอาใจใส่เด็กอย่างใกล้ชิด รวมไปถึงควบคุมและกำหนดเวลาในการใช้หน้าจออย่างเหมาะสม จะส่งผลให้เกิดประโยชน์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กได้
ไอเดียสำหรับครู เพื่อออกแบบกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้เด็ก LD จากเกม "จับผิดภาพ" ให้เด็ก ๆ ลองค้นหาว่าในรูปด้านซ้าย และขวา มีความแตกต่างกันอย่างไร แล้ววงกลมในสิ่งที่แตกต่าง เสริมทักษะการจำและจำแนกทางสายตา ซึ่งเป็นหนึ่งใน 8 ทักษะ ที่เด็กจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมการเรียนรู้...
คุณครูเคยสังเกตพฤติกรรมของเด็ก ๆ กันมั้ยครับ ว่าเด็กแต่ละคนมีบุคลิก พฤติกรรมที่แตกต่างกัน บางกลุ่ม ชอบเจรจาพูดคุยกับเพื่อน ๆ ในขณะที่บางกลุ่มชอบแยกตัวออกไป หากมองให้ดี บุคลิกที่แตกต่างกันนี้ มีทฤษฎีบุคลิกภาพที่สามารถให้คำตอบได้ นั่นคือ Introvert Extrovert และ Ambivert
AQ (Adversity Quotient) ความสามารถในการปรับตัวที่ทำให้เอาตัวรอดได้จากสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งถือเป็นปัจจัยสำคัญที่สร้างให้เด็กในวันนี้กลายเป็นผู้ใหญ่ที่ประสบความสำเร็จได้ต่อไปในอนาคต โดยอาศัยความพยายามและเผชิญหน้ากับปัญหาจนเกิดเป็นความภาคภูมิใจในตัวเอง (Self-Esteeming)
Credit Partnership for 21st Century Learning
การก้าวผ่านจาก โลกปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคเก่า ไปสู่ โลกดิจิตอล ทำให้ความต้องการของตลาดแรงงานเปลี่ยนไป ทักษะต่าง ๆ ที่เป็นการทำซ้ำ ๆ (routine-work) ไม่เพียงพออีกต่อไป เพราะคอมพิวเตอร์สามารถทำแทนได้ แล้วเด็กยุคใหม่จะทำอย่างไร
สมาร์ทบอร์ดหรือไอแพดเพื่อการศึกษา กลายเป็นเครื่องมือธรรมดาสำหรับห้องเรียนปกติทั่วไป เด็ก ๆ ได้มีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ และทำให้เรื่องของการศึกษากลายเป็นเรื่องง่ายดายด้วยเทคโนโลยีผ่านปลายนิ้ว แต่อุปกรณ์เหล่านี้เป็นเพียงส่วนเล็ก ๆ หรือจุดเริ่มต้นของภูเขาน้ำแข็งทั้งหมดที่โผล่มาให้เราเห็น
สื่อประกอบการสอนช่วยครูจัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ สนุกกับการทดลองวิทยาศาสตร์ ด้วยใบงาน จาก หนังสือเสริมทักษะ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีปฐมวัย ปูพื้นฐาน STEM ในชุด งบเรียนฟรี! 200 บาท เรียนรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์ เด็กเรียนรู้ง่าย คุณครูสามารถส่งให้ผู้ปกครองใช้จัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้
เทรนด์การศึกษาของปี 2021 ที่น่าจับตามองมากที่สุดในตอนนี้ คือการเรียนรู้แบบดิจิทัล ที่เน้นการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ควบคู่ไปกับการสอนแบบออนไลน์ และ การสร้างปฏิสัมพันธ์เข้าด้วยกัน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจในบทบาทหน้าที่ กับการปรับใช้ในสถานการณ์จริงเพื่อนำไปสู่การเป็นพลเมืองโลกอย่างมีคุณภาพ
Credit thepotential.org
การเรียนคณิตศาสตร์ไม่ใช่เรื่องของสมองซีกซ้าย ศิลปะและดนตรีไม่ใช่เรื่องของสมองซีกขวาอีกต่อไป, การกระตุ้นพัฒนาการเรียนรู้ ไม่ได้จำกัดแค่ ช่วงวัยใดวัยหนึ่ง, การทำซ้ำ ๆ จนช่ำชอง อ่านซ้ำ ๆ จนจำได้ ไม่ใช่การเรียนรู้ที่ดีที่สุดเสมอไป คอนเซ็ปท์สำคัญของ ‘การเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสมองหลายส่วน’