บทความการศึกษา
ครูบางส่วนกำลังจะมีช่วงเวลาในการเกษียณอายุที่ถูกขยับเพิ่มขึ้นในอนาคตก็เป็นได้ หากพูดถึงปัญหาของแรงงานอายุมากสิ่งที่เห็นได้ชัดเจนคือเรื่องของทักษะใหม่ ๆ ที่ต้องถูกยกศักยภาพให้ก้าวทันโลก โดยเฉพาะอาชีพด้านการชี้แนะผู้อื่นอย่างครู แล้วต้องยกระดับศักยภาพของตนเองด้านไหนบ้างอ่านเพิ่มเติมไปกับ LF1
การปฏิวัติมีทุกยุคทุกสมัย โดยเฉพาะเรื่องของการเรียนรู้อย่างการศึกษา ในห้องเรียนยุคใหม่ตัวชี้วัดอาจไม่ใช่เกรดเฉลี่ยหรือคะแนนในแต่ละวิชาอีกแล้ว เพราะการศึกษาในยุคนี้เปิดกว้างในเรื่องของการเตรียมเด็ก ๆ ให้พร้อมกับการใช้ชีวิตจริงที่เต็มไปด้วยการเปลี่ยนแปลง และเข้าถึงโลกในการทำงานมากขึ้น แล้วห้องเรียนยุคใหม่ในปัจจุบันพัฒนาไปถึงไหนแล้ว ลองไปดูตัวอย่างกับ 3 โรงเรียนต้นแบบของห้องเรียนยุคใหม่กับ L1 กันครับ
โลกกำลังก้าวเข้าสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 สหประชาชาติและองค์กรอื่น ๆ ต่างเรียกช่วงนี้ว่า "ทศวรรษแห่งการส่งมอบ" พาเปิดมุมมองการพัฒนาโลกของการศึกษาผ่านคอลัมน์สรุปให้รู้ตามทันโลก อนาคตการศึกษา ep.31 เตรียมเด็กพร้อมปฏิวัติทักษะใหม่กับอนาคต 2030
ปัญหาของการสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่เด็กไทยต้องเจอจนนำไปสู่การสมองไหลของเด็กรุ่นใหม่ในอนาคตข้างหน้าหากระบบการสอบยังไม่นิ่ง ประกอบกับเศรษฐกิจไทยยังคงเสี่ยงสูงอาจมีเด็กหลุดออกจากระบบการศึกษาและภาวะสมองไหลออกนอกประเทศเพิ่มขึ้น
ในยุคก่อนทั่วโลกนิยมใช้แนวคิด VUCA World ที่นิยามโลกว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงและพลิกผันอย่างรวดเร็ว แต่ในปัจจุบันนิยามนี้ไม่เพียงพอต่อโลกยุคนี้แล้ว จึงนำไปสู่ BANI World โมเดลแนวคิดใหม่ที่นิยามว่าเป็นโลกแห่งความเปราะบาง ความไม่เข้าใจ และเต็มไปด้วยความวิตกกังวลแล้วคุณครูต้องเตรียมพร้อมให้เด็ก ๆ ในทักษะไหนบ้าง อ่านไปพร้อมกันได้ที่บทความนี้
ปัจจุบันการเรียนรู้ในห้องเรียนไม่ใช่คำตอบทั้งหมดของการศึกษาอีกแล้ว การเรียนรู้ทักษะอื่น ๆ ก็สำคัญพอ ๆ กับวิชาการโดยเฉพาะเรื่องของการเรียนรู้นอกห้องเรียน วันนี้มาแนะนำแหล่งเรียนรู้น่าสนใจอย่างพิพิธภัณฑ์ให้ผู้อ่านได้รู้จักกัน 4 แห่งจากทั่วโลก
ในยุคที่ต้องวิ่งตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ชั่วโมงหลังเลิกเรียนก็เปลี่ยนไป การศึกษากำลังกลายเป็นการแข่งขันเข้าไปทุกที เมื่อเด็กต้องเรียนเสริม หรือเรียนล่วงหน้าเพื่ออาชีพในฝัน โดยเฉพาะอาชีพ STEM กับตัวอย่างกิจกรรม STEM หลังเลิกเรียน
ตอนนี้ AI ไม่ใช่แค่เทคโนโลยีใหม่อีกแล้ว แต่เป็นการสะท้อนให้เห็นทิศทางของเศรษฐกิจ การดำรงชีวิต อาชีพ ความเสี่ยงของมนุษย์ในการถูกแทนที่ และการเปลี่ยนแปลงของการศึกษาในหลาย ๆ ด้าน เมื่อมันกำลังกลายเป็นชีวิตประจำวัน คุณครูคิดว่าหลักสูตร AI จำเป็นต้องบรรจุเข้าไปในแบบเรียนไหม ? อ่านเพิ่มเติมได้ที่บทความนี้
ครูสามารถช่วยพัฒนานักเรียนได้ในหลาย ๆ ด้าน ทั้งในเรื่องของการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะต่าง ๆ แต่นอกจากนี้แล้ว ยังมีอีกสิ่งหนึ่งซึ่งสำคัญไม่น้อยที่ครูจะสามารถช่วยพัฒนาได้นั่นก็คือ “นิสัย” โดยนิสัยเชิงบวกนั้นจะช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้กับตัวของนักเรียนเองในระยะยาว
การเรียนรู้ในปัจจุบันคือการเรียนรู้ที่เกิดได้ทุกที่ ทุกเวลา ไม่ได้เน้นเพียงรูปแบบวิชาการที่ตายตัว แต่ต้องสามารถบูรณาการการเรียนรู้ และต่อยอดการศึกษาไปใช้ในอนาคตได้ หลักการด้านการศึกษาสมัยใหม่ VASK Model ได้กล่าวถึง 4 หลักนี้ที่จำเป็นต้องเสริมในตัวเด็กเพื่อพัฒนาไปเป็นคนที่มีคุณภาพในอนาคต
แผน IEP หรือโปรแกรมจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ( IEP ) กำหนดแนวทางการจัดการศึกษาสำหรับเด็ก LD ให้ได้รับการพัฒนาตามเป้าหมาย เน้นการพัฒนาทางด้านวิชาการ ครอบคลุมถึงพัฒนาการด้านสังคม และความสามารถในการใช้ชีวิตประจำวัน จำเป็นต้องเตรียมข้อมูลเชิงลึกด้านต่าง ๆ ของเด็ก LD และวิธีการสร้างแผน IEP ที่มีหลายขั้นตอน ความท้าทายของครูการศึกษาพิเศษ คือ จะทำอย่างไรจึงเข้าใจกระบวนการออกแบบแผน IEP ได้แบบลงลึก เพื่อที่จะวางแผน IEP ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับเด็ก LD แต่ละคน บทความนี้มีคำตอบครับ
“การประเมินนักเรียนไม่จำเป็นต้องอาศัยข้อสอบเพื่อวัดผลการเรียนของเด็ก ๆ เพียงเท่านั้น แต่มันยังมีอีกหลายวิธีที่สามารถใช้ตรวจสอบผลการเรียน และความสามารถในด้านต่าง ๆ ของนักเรียนได้” แนะนำ 7 วิธีลัด ที่ช่วยให้คุณครูสามารถประเมินนักเรียนได้ง่ายกว่าการออกข้อสอบแบบเดิม ๆ มาฝากกันครับ
6 หลักที่ผู้เชี่ยวชาญสรุปออกมาในรายงานฉบับนี้ทำให้เราเห็นภาพชัดมากขึ้นถึงแนวทางการศึกษาในอนาคต และนำไปใช้ประโยชน์กับการเสริมทักษะที่จำเป็นสำหรับนักเรียนยุคใหม่ของคุณได้ เพื่อขับเคลื่อนมนุษยชาติต่อไป
มีผลการผลการวิจัยพบว่าเด็กในยุคเจนเนอเรชันอัลฟ่าที่เกิดมากับโลกยุคดิจิทัล มีแนวโน้มการใช้สื่อดิจิทัลเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ (ข้อมูลจากงานสื่อสารองค์กร กองบริหารงานทั่วไป สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล) การใช้สื่อดิจิทัลในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จำเป็นต้องเลือกสื่อดิจิทัล และแอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่ช่วยให้เด็กสามารถค้นคว้า สร้างโอกาส และต้องส่งเสริมให้พวกเขามีทางเลือกในการสร้างจินตนาการ และแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก หรือ Active Learning ผู้สอนจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนเทคนิคการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมเพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ และประยุกต์ใช้ทักษะต่างๆ สร้างความเข้าใจด้วยตนเอง เน้นการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง มีเทคนิคแบบไหนบ้าง สามารถติดตามได้ที่บทความนี้เลยครับ
วิทยาศาสตร์ ศาสตร์แห่งการนำพาสังคมไปสู่โลกแห่งอนาคต การบูรณาการของศาสตร์ต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะที่หลากหลาย สร้างคุณลักษณะที่สำคัญที่จะทำให้ผู้เรียนกลายเป็นบุคคลที่รักที่จะเรียนรู้ มีตรรกะ มีเหตุผล สามารถคิดไตร่ตรอง และแก้ปัญหาได้อย่างมีวิจารณญาณ พร้อมที่จะต่อยอดความรู้ใหม่ ๆ จนกลายเป็นผู้ผลิตนวัตกรรมที่เป็นองค์ประกอบสำคัญสำหรับการนำพาประเทศสู่สังคมโลก
หลักจิตวิทยาที่ว่าด้วยการเห็นคุณค่าของตัวเองหรือ Self-Esteem จึงเข้ามามีบทบาทกับเด็ก LD เพราะการอ่าน เขียนไม่ออก หรือการคิดเลขช้าตามไม่ทันเพื่อนทำให้ไม่ค่อยประสบความสำเร็จ แล้วเราจะสร้าง Self-Esteem ให้เด็กอย่างไร อ่านได้ในบทความนี้
บางครั้งการประเมินผลบางรูปแบบก็อาจไม่ได้เหมาะกับเด็กทุกคน ข้อสอบปรนัยอาจทำให้เด็กคนหนึ่งถูกมองว่าเรียนไม่รู้เรื่อง เพียงเพราะการวัดประเมินผลของครูไม่เอื้อให้เขาได้แสดงสมรรถนะออกมาอย่างที่เราคาดหวัง เราจะปรับเปลี่ยนการประเมินรูปแบบเดิมไปเป็นการวัดประเมินอิงการปฏิบัติได้อย่างไรเพื่อการประเมินผลที่ช่วยสะท้อนสมรรถนะที่แท้จริงของเด็ก
การเรียนรู้ของเด็กในยุคใหม่ Blended Learning คือการเรียนการสอนที่ถูกพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมด้วยระบบของการศึกษาที่ผันเปลี่ยนไปตามเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า การเรียนรู้แบบผสมผสานจึงเป็นสูตรใหม่ของการเรียนการสอนที่ถูกพัฒนาให้เราได้นำมาประยุกต์ใช้ สิ่งใดที่จะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ สิ่งนั้นย่อมพัฒนาการสอนของครูเช่นกัน
เดวิด เอปสตีน บอกว่า นักกีฬาหรือนักดนตรีที่มีชื่อเสียงอย่างมากมาย ไม่ได้บอกว่าหนทางเดียวที่จะไปถึงเป้าที่หวังนั้น จำเป็นจะต้องมุ่งความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านเพียงอย่างเดียว หลายคนผ่านการลองผิดลองถูกมาอย่างหลากหลาย
การปล่อยให้เด็กปฐมวัยอยู่กับหน้าจอและใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้จะไม่ใช่เรื่องที่น่ากังวลอีกต่อไป ถ้าหากครูหรือผู้ปกครองมีการใช้อย่างถูกวิธี รู้จักเลือกสื่อที่เหมาะสมกับวัย พร้อมกับดูแลพูดคุยเอาใจใส่เด็กอย่างใกล้ชิด รวมไปถึงควบคุมและกำหนดเวลาในการใช้หน้าจออย่างเหมาะสม จะส่งผลให้เกิดประโยชน์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กได้
AQ (Adversity Quotient) ความสามารถในการปรับตัวที่ทำให้เอาตัวรอดได้จากสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งถือเป็นปัจจัยสำคัญที่สร้างให้เด็กในวันนี้กลายเป็นผู้ใหญ่ที่ประสบความสำเร็จได้ต่อไปในอนาคต โดยอาศัยความพยายามและเผชิญหน้ากับปัญหาจนเกิดเป็นความภาคภูมิใจในตัวเอง (Self-Esteeming)
Credit Partnership for 21st Century Learning
การก้าวผ่านจาก โลกปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคเก่า ไปสู่ โลกดิจิตอล ทำให้ความต้องการของตลาดแรงงานเปลี่ยนไป ทักษะต่าง ๆ ที่เป็นการทำซ้ำ ๆ (routine-work) ไม่เพียงพออีกต่อไป เพราะคอมพิวเตอร์สามารถทำแทนได้ แล้วเด็กยุคใหม่จะทำอย่างไร
สมาร์ทบอร์ดหรือไอแพดเพื่อการศึกษา กลายเป็นเครื่องมือธรรมดาสำหรับห้องเรียนปกติทั่วไป เด็ก ๆ ได้มีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ และทำให้เรื่องของการศึกษากลายเป็นเรื่องง่ายดายด้วยเทคโนโลยีผ่านปลายนิ้ว แต่อุปกรณ์เหล่านี้เป็นเพียงส่วนเล็ก ๆ หรือจุดเริ่มต้นของภูเขาน้ำแข็งทั้งหมดที่โผล่มาให้เราเห็น
เทรนด์การศึกษาของปี 2021 ที่น่าจับตามองมากที่สุดในตอนนี้ คือการเรียนรู้แบบดิจิทัล ที่เน้นการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ควบคู่ไปกับการสอนแบบออนไลน์ และ การสร้างปฏิสัมพันธ์เข้าด้วยกัน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจในบทบาทหน้าที่ กับการปรับใช้ในสถานการณ์จริงเพื่อนำไปสู่การเป็นพลเมืองโลกอย่างมีคุณภาพ
Credit thepotential.org
การเรียนคณิตศาสตร์ไม่ใช่เรื่องของสมองซีกซ้าย ศิลปะและดนตรีไม่ใช่เรื่องของสมองซีกขวาอีกต่อไป, การกระตุ้นพัฒนาการเรียนรู้ ไม่ได้จำกัดแค่ ช่วงวัยใดวัยหนึ่ง, การทำซ้ำ ๆ จนช่ำชอง อ่านซ้ำ ๆ จนจำได้ ไม่ใช่การเรียนรู้ที่ดีที่สุดเสมอไป คอนเซ็ปท์สำคัญของ ‘การเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสมองหลายส่วน’
Credit Kruvoice
เรียนครูว่ายากแล้ว เรียนครูปฐมวัยยากกว่าอีกหลายต่อหลายคนชอบพูดว่า ครูปฐมวัยเรียนง่าย แค่ขีดๆ เขียนๆ วาดๆ พูด2-3คำ ก็ให้เด็กนอน กินนมกลับบ้าน แล้วทุกคนรู้มั้ย กว่าจะได้เป็นครู เราผ่านอะไรมาบ้าง เราต้องทำเป็นทุกสิ่ง เราต้องทำสื่อดึกๆเกือบทุกคืน เราต้องเรียนทุกวิชาที่คนอื่นไม่เรียน
Credit trueปลูกปัญญา
การสร้างวินัยเชิงบวก เป็นวิธีจัดการกับพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ของเด็กอย่างสร้างสรรค์โดยไม่ใช้วิธีการลงโทษ จะมีจุดมุ่งหมายให้เด็กรู้จักควบคุมพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของตัวเอง มากกว่าที่จะโดนบังคับ เพื่อให้เด็กเกิดการปรับพฤติกรรมไปในแนวทางที่ดีขึ้นและมีผลต่อเนื่องไปในอนาคต
Flipped Classroom เป็นการจัดการเรียนการสอนที่สวนทางกับสิ่งที่เป็นอยู่ปัจจุบัน โดยให้นักเรียนศึกษาความรู้ผ่านอินเตอร์เน็ตนอกห้องเรียน นอกเวลาเรียน ส่วนในห้องเรียนจะเป็นการจัดกิจกรรม นำการบ้านมาทำในห้องเรียนแทน
เลี่ยงไม่ได้ เมื่อการศึกษาไทยต้องรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 หลังจากคณะรัฐมนตรี(ครม.)มีมติรับทราบตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เสนอการปรับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่ง ปีการศึกษา 2563 โดยให้สถานศึกษาเลื่อนการเปิดภาคเรียนที่หนึ่ง ปีการศึกษา 2563 เป็นวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
Credit trueplookpanya
ครูนั้นควรเป็นแบบอย่างที่ดีของศิษย์ เป็นผู้ที่สร้างทรัพยากรมนุษย์ที่ดีต่อสังคม ฉะนั้นโดยธรรมชาติของครูต้องเป็นผู้ใฝ่เรียน และต้องรู้จักพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยลักษณการสอนที่ดีนั้นจะช่วยให้ครูประสบผลสำเร็จในการสอนให้นักเรียนมีความเข้าใจในบทเรียนนั้น ๆ
Credit taamkru.com
การเล่านิทานให้เด็กฟังไม่ใช่เล่าเพื่อให้เด็กเกิดความสนุกและตลกขบขันเท่านั้น แต่ความเป็นจริงเด็กต้องการความน่าสนใจและประโยชน์ที่ได้จากการฟังนิทานในด้านของการสร้างสรรค์จินตนาการ ความคิด ความเข้าใจ ความฝันและการรับรู้ให้กับเด็ก
ในปัจจุบันสังคมเริ่มให้ความสำคัญกับการเคารพสิทธิของเพื่อนมนุษย์ และต่อต้านการเหยียด (Anti Racism) ไม่ว่าจะเป็นการเหยียดเพศ สีผิว รูปร่าง เชื้อชาติ ศาสนา หรือความแตกต่างทางสังคม ซึ่งหมายรวมถึงการล้อเลียนและพูดจาถากถางไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม
Credit mommymore.com
“สำหรับแนวการศึกษา ไฮสโคป (High Scope) จริงๆ แล้วในประเทศไทย เรารู้จักมาเป็นเวลามากกว่า 35 ปีแล้ว โดยที่ลักษณะเป็นการทดลองวิจัย เพื่อทำให้การศึกษาปฐมวัยของเราเข้มแข็งขึ้น ให้มีการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองเด็กเป็นรายบุคคลมากขึ้น หรือที่เรารู้จักกันในชื่อภาษาอังกฤษว่า Child Centered
Credit The Potential
ความเหลื่อมล้ำแห่งการเล่น มาจากสองประการคือ จากเรื่องเพศ และ ความพร้อมทางสังคม เด็กผู้ชายมีโอกาสเล่นของเล่นพวกบล็อกหรือเลโก้มากกว่าเด็กผู้หญิง ขณะที่เด็กในครอบครัวยากจน (ทั้งชายและหญิง) มีโอกาสน้อยยิ่งกว่าที่จะเข้าถึงของเล่นในแบบเดียวกัน
Credit เว็บไซต์ TCDC
Artificial Intelligence หรือ AI ไม่ใช่เรื่องน่ากลัว แต่กลับเป็นเครื่องมือช่วยให้คุณครูสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนได้ในหลายแง่ เช่น ลดเวลาในการทำงานต่างๆ ช่วยในการจัดเก็บข้อมูล
Credit The World with Karuna
อายุไม่ใช่ปัญหาในการเรียนรู้สิ่งใหม่การเขียนโปรแกรมก็เหมือนกัน จะวัยไหนก็ไม่มีใครเด็กหรือแก่เกิน Coding เช่นเดียวกับคุณยายมาซาโกะ วากามิยะ ที่เริ่มเรียนรู้เทคโนโลยีและฝึกเขียนแอพฯ จนได้เกมสนุกๆ คลายเหงาให้คนวัยเกษียณได้โหลดเล่นกัน
สถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโควิด-19 ส่งผลกระทบและเกิดปรากฏการณ์ “ความปกติใหม่” (New Normal) สร้างความท้าทายให้แวดวงการศึกษาโลกและไทย จุดประกายการใช้เทคโนโลยีสร้างการเรียนการสอนสำหรับทุกคน อักษร เอ็ดดูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
เมื่อครูอยู่บนเวทีของการแสดงในบทครู การจัดการเรียนการสอนในแต่ละบท มีผลต่อบรรยากาศในการเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นความตื่นเต้น ความสนุกที่อยากจะเรียนรู้ การมีส่วนร่วม และปฎิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน และท้ายที่สุดคือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนนั้นมีความแตกต่างกันตามไปด้วย
เมื่อสถานการณ์ Lockdown และนโยบายการกักตัวเริ่มคลี่คลายลง พร้อมการมาถึงของการเปิดภาคการศึกษาใหม่ สิ่งที่คุณครูต้องเผชิญจากผู้เรียนและผู้ปกครองก็คือ ความกังวลในการจัดการเรียนรู้ที่ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นอันดับหนึ่ง เพราะไวรัส Covid-19
คำว่า New Normal หรือ ความปกติใหม่ กำลังเป็นคำพาดหัวยอดนิยมบนข่าว บทความออนไลน์ หรือการพูดถึงกันผ่านคีย์บอร์ดบนสื่อโซเชียล การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในหลากหลายมิติของคนบนโลก ตั้งแต่การทำงาน การรักษาสุขภาพ แม้แต่การศึกษาเองก็จะต้องเผชิญกับภาวะของการปรับตัวครั้งใหญ่เช่นเดียวกัน
การทดลองใช้การสอนออนไลน์ระดับประเทศ ทำให้เกิดกระแสตอบรับมากมาย และสะท้อนให้เห็นถึงแง่มุมอันท้าทายของการสอนที่ครูและผู้เรียนต้องจัดการเรียนรู้ผ่านอุปกรณ์ ในบทความนี้เราได้รวบรวมความท้าทาย 5 ประการของการสอนออนไลน์ และวิธีที่จะช่วยให้คุณครูสามารถก้าวข้ามไปได้
ถึงแม้การสอนออนไลน์จะเปิดประตูสู่ความเป็นไปได้ของการเรียนรู้ในสภาวะไม่ปกติในปัจจุบัน เพราะช่วยให้คุณครูและผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงและส่งผ่านข้อมูลถึงกันได้ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็ตาม แต่การสอนออนไลน์ก็มาพร้อมกับความท้าทายที่บางครั้งก็อาจทำให้คุณครูที่ชินกับการสอนด้วยหนังสือต้องสับสน
แม้ในโลกการศึกษาปัจจุบันจะให้ความสำคัญของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสไตล์ของผู้เรียนแต่ละคน รวมถึงการมอบหมายการบ้านด้วย แต่การจะทำแบบนั้นได้จำเป็นต้องอาศัยเวลาและความทุ่มเทของครูอย่างมหาศาลจนแทบจะเป็นไปไม่ได้ โดยเฉพาะในสถานการณ์บังคับที่ครูต้องผละจากการสอนผ่านหนังสือเรียน มาสู่การสอนออนไลน์
Credit Parentsone.com
ก้าวแรกของพัฒนาการในการเติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์นั้น “ปฐมวัย” คือวัยที่สำคัญที่สุด แต่เป็นที่น่าเสียดายว่าในวันนี้ พัฒนาการของเด็กในช่วงปฐมวัยกำลังถูกจำกัดเพียงแค่แนวคิดที่ไม่เหมาะสมจากผู้ใหญ่ ดังเช่น "การสอบเข้า ป.1"